ข้อแจกจ่างของข้อมูลและสารสนเทศ คือ สารสนเทศจะเกิดขึ้นได้
ก็ต้องมีข้อมูลก่อน เพราะสารสนเทศเกิดจากการนำข้อมูลที่รวบรวมมาจากแหล่งข้อมูลต่างๆ
ทั้งภายในและภายนอกองค์กร โดยผ่านขั้นตอนการประมวล เพื่อให้ได้สารสนเทศมาประกอบการตัดสินใจ
แห่ลงข้อมูล แบ่งออกได้ 2 แหล่ง คือ
1 แหล่งภายในองค์กร
คือแหล่งข้อมูลที่เกิดขึ้นในองค์กรนั้นๆ
โดยสามารถนำข้อมูลนั้นผ่านกระบวนการให้ได้สารสนเทศ เพื่อใช้ในองค์กรได้ เช่น
· ประเภทของตลาด
· สภาพคล่องของบริษัท
· สภาพแรงงานสัมพันธ์ในองค์กร
· นโยบายการกักตุนสันค้า
· นโยบายการลดราคาสินค้า
2 แหล่งข้อมูลภายนอกองค์กร คือแหล่งข้อมูลที่เกิดขึ้นภายนอกองค์กร
แล้วนำข้อมูลนั้นม่านกระบวนการให้ได้สารสนเทศ เช่น
· สภาพตลาดแรงงงงานในประเทศไทย
· สภาพเศรษฐกิจของโลก
· การออกกฎหมายใหม่ของรัฐบาล
· การค้ากับประเทศที่ 3
· คู่แข่งการค้าใหญ่ที่ได้รับส่วนแบ่งของตลาดมา
ขั้นตอนการประมวลผล
·
ขั้นเก็บรวบรวมข้อมูล
·
ขั้นบันทึกข้อมูล
·
ขั้นการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล
·
ขั้นการประมวลผลข้อมูล
·
ขั้นการจัดทำรายงาน
·
การทำสำเนาข้อมูล
·
ขั้นตอนการเก็บรักษา
ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม | |||
ในการเขียนโปรแกรมเพื่อแก้ปัญหาต่างๆจำเป็นต้องมีการวางแผน และออกแบบโปรแกรมไว้ล่วงหน้า โดยกำหนดขั้นตอนวิธีการทำงานให้ชัดเจน ซึ่งกระบวนการวิเคราะห์ และออกแบบโปรแกรมเรียกว่า วัฏจักรการพัฒนาระบบงาน System Development Lift Cycle ( SDLC) ซึ่งมีกระบวนการทำงานเริ่มต้นจากการวิเคราะห์ปัญหาไปจนถึงการนำโปรแกรมไปใช้งาน และปรับปรุงพัฒนาระบบให้ดีขึ้น มีขั้นตอนของ วัฏจักรการพัฒนาระบบงาน ดังต่อไปนี้
ขั้นตอนที่ 1 การวิเคราะห์ปัญหา (Problem Analysis)
ขั้นตอนที่ 2 การออกแบบโปรแกรม (Program Design) ขั้นตอนที่ 3 การเขียนโปรแกรม (Program Coding) ขั้นตอนที่ 4 การทดสอบและแก้ไขโปรแกรม ( Program Testing & Verification) ขั้นตอนที่ 5 การจัดทำเอกสารและคู่มือการใช้งาน (Program Documentation) ขั้นตอนที่ 6 การใช้งานจริง (Program Implement) ขั้นตอนที่ 7 การปรับปรุงและพัฒนาโปรแกรม (Program Maintenance)
ภาษาโปรแกรม
ภาษาโปรแกรมแต่ละภาษาจะมีลักษณะหรือรูปแบบการเขียนที่คล้ายๆ
กันและแตกต่างกัน
การเลือกภาษาโปรแกรมหรือภาษาคอมพิวเตอร์เพื่อนำมาเขียนโปรแกรมนั้นขึ้นอยู่กับปัจจัยหลาย
ๆ อย่าง เช่นนโยบายของบริษัท, ความเหมาะสมของโปรแกรมกับลักษณะงานที่จะถูกนำไปใช้,
การเข้ากันได้กับโปรแกรมอื่น ๆ, หรืออาจเป็นความถนัดของแต่ละคน
ภาษาโปรแกรมที่มีแนวโน้มในการนำมาเขียนมักเป็นภาษาที่มีคนที่สามารถเขียนได้ทันที
หรือหากมีความจำเป็นที่จะต้องเลือกใช้ภาษาอื่น
เช่นต้องการเน้นประสิทธิภาพในการทำงานของโปรแกรม ก็อาจจำเป็นต้องหานักเขียนโปรแกรมขึ้นมาจำนวนหนึ่งซึ่งมีความรู้ความเข้าใจในภาษาโปรแกรมที่ต้องการ
และต้องมีคอมไพเลอร์ที่รองรับภาษาเหล่านั้นด้วย
ตัวอย่างโปรแกรมภาษาที่ได้รับความนิยมในปัจจุบัน เช่น C++,Visual
C#, Visual Basic, Delphi, Java, Java Script, PHP, ASP, Flash Action Script,
HTML, XML เป็นต้น...
รหัสเทียม ใช้เป็นภาษากลางในการอธิบายขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม การเขียนรหัสเทียมไม่มีหลักเกณฑ์ตายตัว
สำคัญเพียงแต่เขียนให้ผู้อ่านเข้าใจ
โดยปกติแล้วจะประยุกต์รูปแบบการเขียนและโครงสร้างมาจากภาษาคอมพิวเตอร์ แต่การเขียนรหัสเทียมจะเป็นลักษณะการเขียนคำอธิบายมากกว่าการเขียนเป็นคำสั่งต่างๆ
และการเขียนรหัสเทียมนั้นมักจะไม่ใส่ใจในรายละเอียดการเขียนมากนัก เช่น อาจไม่มีขั้นตอนการประกาศตัวแปร
เป้าหมายสำคัญของการเขียนรหัสเทียมคือทำลายกำแพงของภาษาลงไป
การเขียนรหัสเทียมจึงไม่ใส่ใจในการเขียนไวยากรณ์ให้ถูกต้องตามหลักภาษา
แต่จะเป็นไปตามใจของผู้เขียนมากกว่า
รหัสเทียมในอีกนัยหนึ่ง ก็คือ ผังงาน (flowchart)
ซึ่งนำเสนอการทำงานของโปรแกรม และขั้นตอนวิธีในรูปแบบของแผนภาพ
ตัวอย่างการเขียนรหัสเทียม
การวิเคราะห์งาน
1. สิ่งที่โจทย์ต้องการ
2.ข้อมูลนำออก การแสดงผลลัพธ์
3.ข้อมูลนำเข้า
4. ตัวแปลที่ใช้
5. วิธีการประมวลผลข้อมูล
หลักการเขียนผังงาน ฝังงาน คือ เครื่องมือที่ช่วยในการเขียนโปรแกรมและช่วยในการออกแบบขั้ตตอนการทำงานของโปรแกรม โดยจะเขียนเป็นสัญลักษณ์ภาพเคื่องหมายแสดงลำดับขั้นตอนการทำงานโดยแบ่งออกเป็น 3 ระเภท
ผังงานระบบ ผังงานโปรแกรมมอดูล ผังงานเขียนโปรแกรม
ประโยนช์ของผังงาน คือ แสดงลักษณะการทำงานได้อย่างสั้นกะทัดรัด การศึกษาโปรแกรมจากผังงงานก่อน ผังงานช่วยในการบำรุงรักษาโปรแกรม
สัญญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงาน
ตัวอย่าง ให้เขียนโปรแกรมเพื่อคำนวณหาเงินเดือน,ภาษี 10%และเงินเดือนสุทธิ โดยมีรายละเอียดของข้อมูลดังนี้ รหัสประจำตัวพนักงาน ชื่อพนักงาน,จำนวนชั่วโมง,อัตราค่าแรง,เงินเดือน,ภาษี 10% เงินเดือนสุทธิ
คำสั่ง 1.ให้วิเคราะห์งาน
2.ให้เขียนฝังงาน
3. ให้เขียนโปรแกรมโดยใช้คำสั่ง READ และ DATA
การวิเคราะห์งาน
1.สิ่งที่โจทย์ต้องการ
เงินเดือน ภาษี 10% เงินเดือนสุทธิ
2.ข้อมูลนำออก การแสดงลลัพธ์
PROGRAM SALARY REPORT
......................................................................
CODE =
NAME =
HOUR =
RATE =
SALARY=
TAX10%=
NET_SALARY=
................................................................................................................................................................
3.ข้อมูลนำเข้า จากรูปแบบของผลลัพธ์ข้อมูลที่จะนำป้อนเข้าไปให้คอมพิวเตอร์ประมูลผล คือรหัสประจำตัวพนักงาน ชื่อพนักงาน จำนวนชั่วโมงอัตราคาแรง
4.ตัวแปรที่ใช้
c$
N$
H
R
S
T
NET_SALARY
5.วิธีการประมวลผล
5.1 พิมพ์หัวรายงาน
5.2 อ่านข้อมูลเก็บไว้ในตัวแปร C$ N$ H R
5.3 คำนวณ S=H*R
5.4 คำนวณ T=S*0.10
5.5 คำนวณ N_SALARY=S-T
5.6 พิมพ์ c$ N$ H R S T NET_SALARY
5.7 จบการทำงาน
การเขียนผัง
รหัสเทียม
CLS
PRINT''------------------------------------------------''
PRINT" PROGRAM SALARY REPORT "
PRINT"------------------------------------------------"
READ C$ N$ H R
DATA 10001 WARAPORN 10 300
PRINT" CODE =";C$
PRINT" NAME =";N$
PRINT" HOUR =";H
PRINT" RATE =";R
S=H*R
T=s*0.10
NET_SALARY=S-T
PRINT ''SALARY =";S
PRINT "TAX 10% =";T
PRINT " NET_SALARY=";NET_SALARY
PRINT"--------------------------------------------------"
END
ผลลัพธ์ที่แสดงออกทางจอภาพ
---------------------------------------------------------------------------------------------------
PROGRAM SALARY REPORT
---------------------------------------------------------------------------------------------------
CODE = 10001
NAME = WARAPORN
HOUR = 10
RATE = 300
SALARY = 3000
TAX10% = 300
NET_SALARY = 2700
-------------------------------------------------------------------------------------------------
|
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น